5 ของค่าจ้างผู้ประกันตน (ค่าจ้างสูงสุดไม่เกินเดือนละ 15, 000 บาท ถูกหักเงินสมทบ 375 บาท) และ ผู้ประกันตนมาตรา 39 เดิมร้อยละ 9 ลดลงเหลือร้อยละ 4. 5 (จากเดิมที่จ่ายเดือนละ 432 บาท เหลือ 216 บาท) สำหรับรัฐบาลยังคงส่งเงินสมทบในอัตราเดิม คือร้อยละ 2. 75 ของค่าจ้างผู้ประกันตน อย่างไรก็ตาม ต้องมาลุ้นกันดูว่า สำนักงานประกันสังคม จะมีมติลดอัตราส่งเงินสมทบประกันสังคม นำเข้าที่ประชุม ครม. ในเดือนต่อไปหรือไม่ ข่าวที่น่าสนใจ ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ลดเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเพิ่มอีก 3 เดือน - PMDU

ผู้ประกันตนมาตรา 39 ในระบบกองทุนประกันสังคม คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจ ซึ่งต้องมีคุณสมบัติ 2 ข้อคือ 1. เคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ที่นำส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนและสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ภายใน 6 เดือนนับตั้งแต่วันที่ลาออกจากงาน และ 2. ต้องไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม โดยจากสถิติในเดือนพฤศจิกายน 2563 พบว่าผู้ประกันตนมาตรา 39 มีจำนวน 1. 8 ล้านคน จากผู้ประกันตนทั่วประเทศทั้งหมด 16 ล้านคน ตามปกติผู้ประกันตนมาตรา 39 จะต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุน ประกันสังคม 9% ของฐานเงิน 4, 800 บาท หรือคิดเป็น 432 บาทต่อเดือน ยกเว้นเดือนมกราคม-มีนาคม 2564 ที่ได้รับการลดหย่อนเงินสมทบเหลือ 278 บาทต่อเดือน เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากไวรัสโควิด-19 ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี คือกรณีเจ็บป่วย กรณีคลอดบุตร กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีสงเคราะห์บุตร และกรณีชราภาพ ต่อเนื่องจากการเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ผู้ประกันตนมาตรา 33 คือใคร? ผู้ประกันตนมาตรา 33 คือ ลูกจ้างที่ทำงานในสถานประกอบการ ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป มีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์และอายุไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ โดยในเดือนพฤศจิกายน 2563 ผู้ประกันตนมาตรา 33 มีทั้งหมด 11.

5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 375 บาท (จำนวนเเงินที่ถูกหัก) ตั้งแต่เดือน ก. เป็นต้นไป หักเงินเข้าประกันสังคมเท่าเดิม สูงสุดคือ 750 บาท อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง "ผู้ประกันตนมาตรา 33" รอฟังข่าวดี ครม. เตรียมเคาะ เงินเยียวยาอีก 2, 500 บาท อย่าลืม"ผู้ประกันตน"ป่วยโควิด-19 เช็กวิธียื่นรับเงินทดแทนเมื่อขาดรายได้ 1 ก. เปิดทบทวนสิทธิแล้ว "ผู้ประกันตน" รอบตกหล่น ยื่นเลย ก่อนชวดเงินเยียวยา ผู้ประกันตน ม. 39 ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 คือ ผู้ที่เคยทำงานในบริษัท หรืออยู่ใน มาตรา 33 มาก่อน แต่ว่างงาน หรือลาออกไม่เกิน 6 เดือน และเคยส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือนขึ้นไป แต่ยังอยากได้รับสิทธิประโยชน์จากประกันสังคมอยู่ รัฐบาลกำหนดให้ส่งเงินสมทบ เหลือเดือนละ 4. 5% จากเดิม 9% โดยเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบ คือ เดือนละ 4, 800 บาท เท่ากันทุกคน เช่น เงินเดือน 4, 800 บาท (เงินเดือน) x 4. 5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 216 บาท (จำนวนเงินที่ถูกหัก) **ตั้งแต่เดือน ก. เป็นต้นไป หักเงินเข้าประกันสังคมเท่าเดิมคือ 432 บาท สำหรับประกาศตามกฎกระทรวงฉบับดังกล่าว เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี (ครม. ) ที่เห็นชอบเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2564 เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ นายจ้าง และผู้ประกันตน ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด-19 โดยประกาศในกฎกระทรวง กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ให้ปรับลดอัตราเงินสมทบ โดยให้จัดเก็บเงินสมทบฝ่าย นายจ้าง และผู้ประกันตนมาตรา 33 เดิมร้อยละ 5 ลดลงเหลือร้อยละ 2.

เป็นผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัติประกันสังคม จ่ายเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเอง การใช้สิทธิหักลดหย่อนเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ต้องใช้หลักฐานอะไร คำตอบ:�� การหักลดหย่อนเงินสมทบกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมตามจำนวนที่จ่ายจริง ตามมาตรา 47(1)(ฌ) แห่งประมวลรัษฎากร� แต่ไม่เกินที่กฎหมายว่าด้วยประกันสังคมกำหนด ให้ผู้จ่ายเงินสมทบดังกล่าวใช้ใบเสร็จรับเงินที่ได้รับจากกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม เป็นหลักฐานในการหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้ ​ 3. ชื่อเรื่อง:� จ่ายเงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด คำถาม:�� นาย ก. ได้จ่ายเงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม จำนวน 10, 000 บาท จะหักลดหย่อนได้ทั้งจำนวนหรือไม ่ คำตอบ: เงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม หักได้ตามจำนวนที่ได้จ่ายไปจริงในปีภาษี ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ไม่เกินคนละ 9, 000 บาท 4. � ชื่อเรื่อง� หลักเกณฑ์ การหักลดหย่อนเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม คำถาม:� การหักลดหย่อนเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม ต้องมีเงื่อนไขอย่างไรบ้าง คำตอบ: การหักลดหย่อนเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม ให้หักลดหย่อนได้ตามจำนวนที่ผู้มีเงินได้จ่ายไปจริง แต่ไม่เกินตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ��������� กรณีสามีหรือภริยาของผู้มีเงินได้ได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม และความเป็นสามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษี ให้ผู้มีเงินได้หักลดหย่อนได้ด้วยสำหรับเงินสมทบของสามีหรือภริยาที่จ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมดังกล่าว ตามมาตรา 47(1)(ฌ) แห่งประมวลรัษฎากร ​

Articles

  1. เงิน สมทบ กองทุน ประกัน สังคม มาตรา 39 ans
  2. ประกันสังคม ม33, ม39 รู้ไว้ ก.ย.นี้ "จ่ายเงินสมทบประกันสังคม" เท่าเดิมแล้ว
  3. เงินประกันสังคมมาตรา39
  4. ลดเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเพิ่มอีก 3 เดือน - PMDU
  5. การจ่ายเงินประกันสังคมมาตรา 39
  6. ยาง BF GOODRICH Advantage TA DRIVE ราคา โปรโมชั่น และสเปค
  7. เงิน สมทบ กองทุน ประกัน สังคม มาตรา 39.99
  8. ฟังเหตุผลชัดๆ ทำไม ประกันสังคม ‘มาตรา 39’ ไม่มีสิทธิ์รับเงิน เยียวยาโควิด-19

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า การระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกที่สาม ได้ซ้ำเติมความเดือดร้อนให้แก่ภาคธุรกิจและประชาชนไทยที่กำลังพอจะฟื้นตัวได้จากการระบาดระลอกที่สอง แม้ว่ามาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของรัฐบาลจะออกมาอย่างระมัดระวังและเท่าที่จำเป็นโดยคำนึงถึงสวัสดิภาพของประชาชนควบคู่ไปกับการประคับประคองเศรษฐกิจของประเทศด้วยแล้วก็ตาม ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2564 จึงได้มีมติเห็นชอบต่อร่างกฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.

เกาะติดข่าวสาร >> คมชัดลึก ออนไลน์ ผู้ประกันตนประกันสังคมมาตรา 33 และมาตรา 39 เตรียม "จ่ายเงินสมทบประกันสังคม" งวดเดือนกันยายน ในอัตราเดิมแล้ว ผู้ประกันตนประกันสังคมมาตรา 33 และ ผู้ประกันตนประกันสังคมมาตรา 39 เตรียม จ่ายเงินสมทบประกันสังคม เท่าเดิมแล้ว ภายหลังจากที่ ครม. อนุมัติให้ลดอัตราเงินสมทบนายจ้าง และ ผู้ประกันตนมาตรา 33 จาก 5% เหลือ 2. 5% และ ผู้ประกันตนมาตรา 39 เหลือ 4. 5% เพื่อช่วยเหลือ เยียวยาประชาชน สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด-19 เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือน มิ. ย. -ส. ค. 2564 ซึ่งขณะนี้ได้สิ้นสุดโครงการแล้ว ส่งผลให้ ตั้งแต่เดือน ก. 2564 เป็นต้นไป ต้องส่งเงินประกันสังคมเท่าเดิม(มาตรา 33 สูงสุด 750 บาท, มาตรา 39 สูงสุด 432 บาท) นายจ้าง-ผู้ประกันตน ม. 33 นายจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 33 จากเดิมปรับลดการส่งเงินสมทบประกันสังคม เหลือ 2. 5% ต่อเดือน ซึ่งเดิมทีถูกหัก 5% หรือ คำนวณโดย นำ "เงินเดือน" คูณ "2. 5%" จะได้จำนวนเงินที่ถูกหักออกไปในแต่ละเดือน เช่น เงินเดือน 15, 000 บาท (เงินเดือน) x 5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 750 บาท (จำนวนเงินที่ถูกหัก) เงินเดือน 15, 000 บาท (เงินเดือน) x 2.

5 ของค่าจ้างผู้ประกันตน โดยจากที่ทั้งสองฝ่ายต้องจ่ายเงินสมทบสูงสุด 750 บาท ก็จะลดลงเหลือ 375 บาท ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ลดจำนวนเงินสมทบจากร้อยละ 9 เหลือร้อยละ 4. 5 โดยจากที่ต้องจ่าย 432 บาท เหลือจ่ายเพียงเดือนละ 216 บาท ทั้งนี้ แม้การลดอัตราเงินสมทบเป็นเวลา 3 เดือนจะทำให้กองทุนจัดเก็บเงินสมทบได้ลดลงเป็นจำนวนสูงถึง 20, 163 ล้านบาท แต่นายจ้างและผู้ประกันตนจะได้รับประโยชน์จากการลดภาระค่าใช้จ่าย แบ่งเป็น นายจ้าง จำนวน 485, 113 ราย ลดภาระค่าใช้จ่ายลง 9, 487 ล้านบาท ผู้ประกันตนมาตรา 33 จำนวน 11. 1 ล้านคน ลดภาระค่าใช้จ่ายลง 9, 487 ล้านบาท ผู้ประกันตนมาตรา 39 จำนวน 1. 8 ล้านคน ลดภาระค่าใช้จ่ายลง 1, 189 ล้านบาท การลดเงินสมทบในรอบนี้ จะมีผู้ประกันตนได้รับการช่วยเหลือจำนวน 12.

  1. Audi q8 ราคา ใน ไทย voathai
  2. พระ ลีลา ข้าง เม็ด เนื้อ ชิน บัญชร
Thursday, 25-Nov-21 05:00:49 UTC