1. การอ่านบทความ
  2. เก็บตัวอยู่บ้านอย่างไรให้มีความสุข? เรียนรู้บทเรียนการเก็บตัวอยู่บ้านจากพฤติกรรมของน้องแมว
  3. 10 ข้อดีของการอ่าน ยิ่งรู้ยิ่งต้องอ่านเลย
  4. เรื่องที่ทุกคนควรได้อ่าน/เรียนรู้ - จิตวิทยา
  5. Electronics learning: การอ่านค่าตัวเก็บประจุ
  6. การส่งเสริมการอ่าน รักการอ่าน และสนุกกับการอ่าน - GotoKnow

แยกแยะส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงออกจากข้อคิดเห็น ผู้อ่านต้องพิจารณาว่าความคิดเห็นของผู้เขียนตั้งอยู่เป็นเหตุผลที่ถูกต้องหรือไม่ ควรเห็นด้วยกับผู้เขียนหรือไม่ การอ่านประเภทนี้จึงต้องอาศัยประสบการณ์การอ่านอย่างมา ลักษณะของข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น 1. ข้อเท็จจริง เป็นลักษณะของเนื้อความที่แสดงถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นสากลหรือข้อมูลที่ผ่านการพิสูจน์แล้ว ลักษณะของข้อเท็จจริง เช่น - ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข - ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก 2. ข้อคิดเห็นเป็นลักษณะของเนื้อความที่แสดงความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติส่วนตัวของผู้เขียน การเขียนข้อคิดเห็น ผู้อ่านจึงอาจเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้ เช่น - การสอนเด็กนักเรียน ไม่ควรใช้วิธีการตี เพราะไม้เรียวไม่สามารถช่วยอะไรได้มากไปกว่าช่วยกำราบชั่วครั้งชั่วคราว แต่ไม่ได้พัฒนาคุณธรรม และสติปัญญาของเด็กขึ้นเลย - ผมเห็นว่าผู้บริหารประเทศไม่ควรเป็นผู้หญิง เพราะผู้หญิงเป็นเพศที่อ่อนไหวง่าย ขาดความเฉียบขาดและที่สำคัญหล่อนมักจู้จี้จุกจิกในเรื่องไม่เป็นเรื่อง ข้อเสนอแนะในการอ่านเชิงวิเคราะห์ 1. การอ่านตีความ เป็นการอ่านที่ต้องใช้ความคิดพิจารณาสาระสำคัญของเรื่องว่าผู้เขียนมีเจตนาใด เช่น แนะนำ สั่งสอน เสียดสี ประชดประชัน หรือต้องการบอกอะไรแก่ผู้อ่าน โดยหลังจากการอ่านวิเคราะห์แล้ว ผู้อ่านจะต้องพิจารณาอีกครั้งหนึ่งว่า สารที่สำคัญที่สุดซึ่งผู้เขียนตั้งใจจะบอกแก่ผู้อ่านคืออะไร สารนั้นอาจเป็นความตั้งใจ หรือเจตนาแนะนำสั่งสอน เตือนสติ โดยอาจใช้กลวิธีต่าง ๆ กันไป เช่น อาจใช้ถ้อยคำที่ขบขัน หรืออาจบอกไปตรง ๆ ในการอ่านชนิดนี้ นอกจากจะตีความทั้งเรื่องแล้ว ในแต่ละช่วงก็ต้องตีความหมาย โดยเฉพาะเมื่อผู้เขียนแฝงจุดสำคัญที่จะต้องตีความ 4.

การอ่านบทความ

เมื่ออ่านจบหน้าหนึ่ง ๆ หยุดคิดเล็กน้อยว่าย่อหน้านั้นมีใจความสำคัญอย่างไร ตามปกติ ใจความสำคัญจะอยู่ตอนต้นหรือตอนท้ายของย่อหน้า มีเพียง 1-3 ประโยคเท่านั้น 3. เมื่ออ่านจบทุกย่อหน้า ก็นำเอาใจความสำคัญของทุกย่อหน้ามารวมกัน ให้เกี่ยวเนื่องเป็นเรื่องเดียวกัน โดยนึกคิดในใจ หรือเขียนขึ้นใหม่โดยใช้ถ้อยคำภาษาของตนเอง เทคนิคการอ่านหนังสือเร็วและให้ได้ใจความ เทคนิคการอ่านหนังสือเร็วและให้ได้ใจความ ต้องมีการฝึกฝน (ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน, 2547, หน้า 98-107) ดังนี้ 1. จำคำและวลีบางกลุ่มเพื่อช่วยให้อ่านเร็วขึ้น เช่น ด้วยเหมือนกัน และมากกว่าอีก ยิ่งกว่ามาก คำที่ช่วยสรุป เช่น นั่นเอง ดังนั้น ตามที่ ผลก็คือ เป็นต้น 2. อ่านเป็นวลีหรือประโยคไม่ควรอ่านเป็นคำ เพราะเนื้อหาที่ต้องการมักอธิบายด้วยวลี หรือประโยค 3. การเคลื่อนไหวตา โดยปกตินักอ่านที่ดีจะเคลื่อนไหวตา 3 ครั้ง ต่อบรรทัด และเคลื่อนไหวสายตาย้อนกลับไม่เกิน 8 ครั้งต่อหน้า 4. ปรับปรุงการอ่านให้เร็วขึ้นโดยการจับเวลา 5. พยายามอ่านให้มาก อ่านให้เป็นกิจวัตร ควรฝึกอ่านวันละ 1 ชั่วโมง หรืออ่านหนังสือสัปดาห์ละ 2 เล่ม เป็นอย่างน้อย และพยายามฝึกอ่านให้เร็วจนกระทั่งได้อัตราเร็วในการอ่าน 400 คำต่อนาที เป็นอย่างน้อย 6.

เก็บตัวอยู่บ้านอย่างไรให้มีความสุข? เรียนรู้บทเรียนการเก็บตัวอยู่บ้านจากพฤติกรรมของน้องแมว

การอ่านทำให้เราได้พัฒนาตัวเอง การพัฒนาตนเองถือเป็นเรื่องสำคัญในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในโลกยุคปัจจุบัน หากเราไม่เรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เราจะก้าวไม่ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลก และประสบอุปสรรคในการดำเนินชีวิตที่เป็นผลมาจากความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แต่เราสามารถพัฒนายกระดับจิตใจและสติปัญญาของตนเองได้จากการอ่าน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของการประสบความเร็จในชีวิตและสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข 4. การอ่านทำให้เข้าใจเรื่องต่างๆมากขึ้น การศึกษาค้นคว้าจากการอ่าน เพื่อสร้างองค์ความรู้และเพิ่มพูนความเข้าใจในสาขาอาชีพของตน จะทำให้เรามีความใจอย่างลึกซึ้งและมีความรู้จริงในสาขาอาชีพของตน 5. การอ่านทำให้เรามีข้อมูลก่อนตัดสินใจ เราจะสามารถลดการเสียเวลาและความผิดพลาดจากการตัดสินใจลง หากเราได้ศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจจากการอ่าน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากการสำรวจสถิติหรืองานวิจัยต่างๆ 6. การอ่านทำให้เราได้เรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น แม้การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจะเป็นครูที่ดีที่สุดของเรา แต่เราก็ไม่จำเป็นที่จะต้องแสวงหาประสบการณ์ด้วยตนเองไปเสียทุกเรื่องและชีวิตของเราก็สั้นเกินกว่าจะทำเช่นนั้น การเรียนรู้จากประสบการณ์และความผิดพลาดของผู้อื่นที่เราได้จากการอ่าน จะช่วยให้เราไม่ต้องผิดพลาดซ้ำรอยผู้อื่นและช่วยร่นระยะเวลาสู่ความสำเร็จลง 7.

10 ข้อดีของการอ่าน ยิ่งรู้ยิ่งต้องอ่านเลย

เรื่องที่ทุกคนควรได้อ่าน/เรียนรู้ - จิตวิทยา

2 การอ่านตาราง สำรวจตารางอย่างรวดเร็ว โดยดูให้ทั่วตาราง อ่านชื่อตารางว่าเสนอ ข้อมูลเรื่องอะไร มีคอลัมน์อะไรบ้าง มีชื่อหัวคอลัมน์อะไรบ้าง แล้วค่อย ๆ อ่านรายละเอียดข้อมูล ในแต่ละคอลัมน์ทั้งแนวตั้งและแนวนอน 5. 3 การอ่านกราฟ 5. 1 กราฟแท่ง (Bar Graphs) อ่านชื่อกราฟ และคำอธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับชื่อเรื่องนั้น ซึ่งบอกให้ผู้เรียนทราบว่ากราฟนั้นแสดงเกี่ยวกับเรื่องอะไร มีจุดประสงค์อะไรในการแสดงเรื่องนั้น อ่านที่แกนของกราฟทั้งแนวตั้ง และแนวนอน ซึ่งจะบอกข้อมูลประจำแกนทั้งสอง โดยแสดงผ่านแท่งกราฟให้เห็นปริมาณสูงกว่า สั้นกว่า หรือระดับเดียวกันเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ จะเห็นข้อเปรียบเทียบจากแท่งกราฟ 5. 4 การอ่านแผนผัง ให้อ่านชื่อของแผนผังเพื่อทราบว่า แผนผังนั้นแสดงเกี่ยวกับเรื่องอะไร อ่านตามลูกศรว่าจะเริ่มอ่านจากจุดใดก่อนและไปจบที่จุดสุดท้าย แต่ละจุดมีข้อความสั้น ๆ ในแผนผัง 5. 5 ภาพสื่อความหมาย วิธีการอ่านจากรูปภาพ เป็นการอ่านที่เห็นรายละเอียดจากภาพนั้น ๆ ได้ชัดเจนและรวดเร็ว โดยไม่ต้องจินตนาการตามคำบรรยายมาก และยังจดจำเรื่องได้ดีขึ้นด้วย 5. 6 การอ่านแผนภาพวงกลม วิธีการอ่านรูปแผนภาพวงกลม เป็นการอ่านเปรียบเทียบให้ เห็นสัดส่วนของข้อมูลได้รวดเร็วกว่าอ่านจากคำอธิบายอย่างเดียว 5.

Electronics learning: การอ่านค่าตัวเก็บประจุ

ศ.

การส่งเสริมการอ่าน รักการอ่าน และสนุกกับการอ่าน - GotoKnow

การอ่านเก็บความรู้ การอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้าและเก็บความรู้ หมายถึง การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ความคิดแประสบการณ์ของผู้อื่นจากการอ่านมากลั่นกรองด้วยการประมวลประสบการณ์ของตนเองประกอบ โดยการอ่านเก็บความรู้ อ่านเพิมเติม

การดูแลตัวเองให้พ้นจากมลพิษต่างๆ ที่มีผลต่อตัวเราเอง 2. การหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นอันตรายต่อคนที่เป็นโรคภูมิแพ้ นางสาวเกษราภรณ์ มากชู รหัสนิสิต 611031491 คณะศึกษาศาสตร์ สาชาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา แนะนำตัว ประวัติส่วนตัว ชื่อ - นามสกุล: นางสาวเกษราภรณ์ มากชู ชื่อเล่น: เกต สำเร็จการศึกษา: โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ จ. ตรัง รหัสนิสิต: 611031491 ชั้นปี: ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชา: เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา Facebook: Katsaraporn Makchoo Tel: 0620817440 อ้างอิง: ชื่อหนังสือ: นอกกระปุกออมสิน ชื่อผู้เขียน: กรณิศ รัตนามหัทธนะ สรุปใจความสำคัญ: ส้มมุดเป็นเด็กผู้หญิงคนหนึ่งที่คอยจ... รู้จัก "โรคภูมิแพ้" กับวิธีดูแลรักษาป้องกันอย่างถูกต้อง โรคที่มักสร้างความรำคาญใจให้กับใครหลายคน เพราะใ... ประวัติส่วนตัว ชื่อ - นามสกุล: นางสาวเกษราภรณ์ มากชู ชื่อเล่น: เกต สำเร็จการศึกษา: โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ จ. ตรัง รห...

  • -ความรู้- แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
  • การรู้หนังสือ: เริ่มต้นที่การอ่าน - GotoKnow
  • เรื่องที่ทุกคนควรได้อ่าน/เรียนรู้ - จิตวิทยา
  • เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน: ความสำคัญ
  • การ อ่าน เก็บ ความ รู้
  • ทำไม “การอ่าน” จึงสำคัญ – จิตมั่งคั่ง
  • วิธีการ อ่านค่าตัวเก็บประจุไฟฟ้า: 13 ขั้นตอน (พร้อมรูปภาพ)
Thursday, 25-Nov-21 04:02:44 UTC