ตามมาตรา 32 ยังบอกต่อไปอีกว่า การลาป่วยตั้งแต่ 3 วันทำงานขึ้นไป นายจ้าง "อาจ" ให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบันชั้น 1 หรือของสถานพยาบาลของรัฐบาล แต่ถ้ากรณีลูกจ้างไม่อาจแสดงใบรับรองแพทย์ได้ ก็ให้ลูกจ้างชี้แจงให้นายจ้างทราบ ซึ่งก็ชัดเจนอยู่แล้วว่า นายจ้างจะไปบังคับให้เขาไปหาหมอเพื่อไปเอาใบรับรองแพทย์มาให้ดู ก็ไม่ได้นะครับ 4. จากข้อ 3 แทนที่ HR หรือหัวหน้างาน จะคิดแบบ "ซี้ปังเท้า" (ไปหาคำแปลเอาเองนะครับ 555) คิดแต่จะทำตามระเบียบ โดยไม่รู้จักคิดหาเหตุผลตามความเป็นจริง ลองมาหาทางพิสูจน์ว่า พนักงาน "ป่วยจริง" (ตามข้อ 2) หรือไม่ จะดีกว่าไหมครับ โดยทำดังนี้ 4. 1 กรณีพนักงานไปหาหมอ เขาจะต้องได้ใบรับรองแพทย์อยู่แล้ว ซึ่งใบรับรองแพทย์จะมี 2 แบบ คือ 4. 1. 1 ในใบรับรองแพทย์เขียนไว้ว่า "ได้มาทำการตรวจรักษาจริง" กรณีนี้มักจะเป็นการไปตรวจรักษาตามที่หมอนัด ไป follow up โรคประจำตัว เช่น หมอนัดตรวจเช้า พนักงานก็มาทำงานตอนสาย ๆ หรือบ่าย ๆ ได้ หรือหมอนัดบ่าย ก็มาทำงานตอนเช้าก่อนก็ได้ ไม่จำเป็นต้องอนุญาตให้ลาป่วยทั้งวัน 4. 2 ในใบรับรองแพทย์เขียนไว้ว่า "เห็นสมควรหยุดพักรักษาตัวเป็นเวลา…วัน" อันนี้หัวหน้าก็ต้องอนุญาตให้ลาป่วยตามความเห็นของแพทย์ครับ 4.

ลางานแบบมืออาชีพอย่างไรให้ถูกใจเจ้านาย | เรื่องน่ารู้ | หางานที่ดีที่สุด @ JOBTOPGUN.COM

ติดตามงานเมื่อจำเป็น แม้ตัวจะลางาน แต่อาจแสดงความเป็นห่วงงานโดยการติดตามงานเมื่อจำเป็น เช่น เป็นโปรเจคด่วน หรืองานที่คุณตั้งหน้าตั้งตารอ งานสำคัญ คุณอาจจะทำได้จากการเช็คอีเมล ตอบไลน์ลูกค้าหรือหัวหน้าบ้างถ้าจำเป็น เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความรับผิดชอบของคุณนั่นเอง แม้ตัวจะลางาน แต่อาจแสดงความเป็นห่วงงานโดยการติดตามงานเมื่อจำเป็น เช่น เป็นโปรเจคด่วน หรืองานที่คุณตั้งหน้า 4. จัดการงานให้เรียบร้อยก่อนลา ก่อนที่ลากิจ หรือลาพักร้อน ควรจะจัดการงานให้เรียบร้อย ในที่นี้อาจจะมีการเทรนงาน หรือแจ้งรายละเอียดงาน จุดวางงานค้างให้กับเพื่อนร่วมงานหรือเจ้านายจะได้ตามได้ถูกจุด ซึ่งตรงนี้จะทำให้งานที่เรารับมอบหมายสำเร็จได้ไวขึ้น ถึงแม้จะไม่อยู่แต่หากมีเหตุด่วนที่ต้องรีบดำเนินการจะได้มีคนทำแทนได้อย่างราบรื่น ก่อนที่ลากิจ หรือลาพักร้อน ควรจะจัดการงานให้เรียบร้อย ในที่นี้อาจจะมีการเทรนงาน หรือแจ้งรายละเอียดงาน จุดวาง 5. ลาอย่างสั้นและกระชับ เหตุผลในการลางานไม่จำเป็นต้องยืดยาว ขอเพียงสั้นและกระชับก็เพียงพอ เพราะหัวหน้าจะได้ทราบรายละเอียด อย่างถูกต้อง ถึงแม้ว่าจะเป็นการลาฉุกเฉิน หรือลาป่วยที่เป็นเหตุสุดวิสัยจริงๆที่ทำให้ตัวเองไม่สามารถไปทำงานได้ก็ควรจะลาให้หัวหน้างานทราบ ไม่ว่าจะลางานด้วยเหตุผลไหน อย่าลืมนำ 5 เทคนิคนี้ไว้ใช้ลางานได้อย่างเป็นมืออาชีพ รับรองว่าถ้าเราลาอย่างสมเหตุสมผล ก็จะเป็นที่รักของทางเจ้านายและเพื่อนร่วมงานได้ไม่ยากเลยค่ะ Post Views: 3, 435

ส่วนหัวหน้าสายโลกสวยประเภทเป็นยูนิคอร์นใจดีเดินอยู่ที่ทุ่งลาเวนเดอร์ ไม่ว่าลูกน้องคนไหนโทร.

เพราะการลางานนั้น เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิพนักงานทุกคนควรได้รับอย่างเท่าเทียมกัน โดยการลางานก็จะแบ่งออกเป็นอีกหลายประเภท ทั้งลาป่วย ลากิจ ลาพักร้อน ลาฉุกเฉิน ในฐานะพนักงานไม่ว่าจะหน้าใหม่หรือเก่าก็ควรจะศึกษาวิธีการ "ลางานอย่างมืออาชีพ" เพราะการลางานที่เหมาะสมจะไม่สร้างความผิดใจ แตกหักระหว่างคุณกับเจ้านาย ส่วนจะมีวิธีไหนกันบ้างไปดูกันเลยค่ะ 1. ลาป่วยแบบรับผิดชอบ หากตื่นมาแล้วมีอาการป่วยที่อาจจะมีผลต่อเพื่อนร่วมงานจากการนำเชื้อโรคไปเผยแพร่ให้คนอื่นติดไปด้วย ควรรับผิดชอบด้วยการลาป่วยไปเลยจะดีกว่า ยิ่งช่วงนี้ยังเป็นช่วยไวรัส COVID-19 ยังระบาดอยู่ หากมีอาการป่วยควรไปพบแพทย์เพื่อนำใบรับรองแพทย์มายื่นประกอบการลายืนยันว่าเราป่วยจริงๆนั่นเอง 2. อย่าหายไปโดยไม่แจ้ง อย่าลาไปโดยไม่แจ้ง ไม่บอกหัวหน้าหรือเพื่อนร่วมงาน เพราะความลำบากอาจจะตกมาอยู่กับเพื่อนร่วมแผนก หรือ หัวหน้างานที่ต้องมารับผิดชอบงานของลูกน้องโดยกะทันหัน และเนื้องานที่คุณทำค้างอยู่ก็ไม่มีเพื่อนร่วมงานคนไหนรู้รายละเอียด หากเรื่องนั้นเป็นงานด่วน บริษัทคุณอาจเดือดร้อนได้ ทางที่ดีควรแจ้งหัวหน้าให้ทราบถึงแม้ว่าจะลาฉุกเฉินอย่างน้อยก็ควรส่งข้อความมาบอกก่อน 3.

เบอร์ คิว รถ ตู้ ประจวบ นครปฐม

การลาป่วย: จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกน้องป่วยจริง ?

คอลัมน์ HR Corner โดย ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์ มีคนถามมาว่า "ผมปวดหัวเวียนหัวพอโทร. มาขอลาป่วยกับหัวหน้า หัวหน้าก็ให้โทร. ไปลาป่วยกับ HR แต่ HR บอกว่า "ให้ไปหาหมอแล้วเอาใบรับรองแพทย์มายืนยัน แต่ผู้ถามบอกว่าเขาลาป่วยแค่วันเดียวไม่ได้ไปหาหมอจะไปเอาใบรับรองแพทย์มาจากไหน แต่ HR ยืนยันให้ไปเอาใบรับรองแพทย์มาให้" ผมจึงอยากจะทำความเข้าใจในเรื่องการลาป่วยนี่แบบตรงไปตรงมา ดังนี้ครับ 1. HR ไม่มีหน้าที่ไปอนุญาตให้พนักงานฝ่ายอื่นลาป่วยนะครับ เพราะพนักงานฝ่ายอื่นไม่ใช่ลูกน้องของฝ่าย HR สักหน่อย ถ้าอยากจะให้พนักงานทุกฝ่ายมาลาป่วยกับฝ่าย HR ก็ควรจะทำผังองค์กรเสียใหม่ โดยให้พนักงานทุกฝ่ายมาเป็นลูกน้องขึ้นตรงกับฝ่าย HR ดีไหมครับ น่าแปลกใจที่หลายบริษัทยังมีกฎเกณฑ์แปลก ๆ ทำนองนี้อยู่ว่า เรื่องเหล่านี้ต้องไปให้ HR เป็นคนอนุญาต ทั้ง ๆ ที่เป็นบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างานโดยตรงของหัวหน้างาน ในหน่วยงานนั้น ๆ ที่จะต้องเป็นคนพิจารณาว่าจะอนุญาตให้ลูกน้องของตัวเองลาป่วยหรือไม่ ไม่ควรโยนหน้าที่นี้ไปให้ HR นะครับ 2.

  1. I smile dental clinic ราชพฤกษ์ รีวิว north
  2. ไป คาเฟ่ แต่งตัว ยัง ไง
  3. ค้นหารถมือสอง CHEVROLET CRUZE โฉมปี10-ปัจจุบัน - ซื้อขายรถบ้าน ที่ตลาดรถดอทคอม
  4. เนื้อหาภาษาไทย ม.1

2 กรณีพนักงานไม่ได้ไปหาหมอ หัวหน้าก็ไปเยี่ยมลูกน้องที่บ้าน ที่หอพัก สิครับ (ควรมีพยานไปด้วยว่า เราไม่ได้ปรักปรำ) และควรไปเยี่ยมโดยไม่ต้องบอกให้พนักงานรู้ล่วงหน้า ถ้าไปเยี่ยมแล้วเห็นว่าป่วยจริง นอนซมอยู่ ก็อนุญาตให้ลาป่วย ถ้าไม่ป่วยจริง เช่น ไปที่หอพักก็ไม่อยู่ ไม่รู้ไปไหน หรือไปเจอพนักงานที่อ้างว่าป่วย แต่ไปนั่งชิล ๆ ซดเบียร์อยู่ใต้ถุนหอพัก หัวหน้าก็ต้องไม่อนุญาต และถือว่าขาดงาน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร และออกหนังสือตักเตือนตามข้อ 2 ดังนั้น หัวหน้าจึงจำเป็นต้องรู้เท่าทันลูกน้องด้วยว่าใครป่วยจริง หรือป่วยปลอม เพื่อเป็นการปรามลูกน้องคนอื่น ๆ ที่กำลังจะเอาอย่างพวกที่ป่วยปลอม 5. ทั้งหมดที่บอกมานี้ ผมไม่ได้ให้ท่านที่เป็นหัวหน้าเป็นคนใจร้าย ไม่มีมนุษยธรรมนะครับ แต่อยากให้ดูตามข้อเท็จจริง ซึ่งคนที่เป็นหัวหน้าควรจะต้องเท่าทันเล่ห์เหลี่ยมของลูกน้องเกเร (บางคน…ถ้ามี) ถ้าลูกน้องคนไหนที่ทำงานดี ไม่มีปัญหาแล้วจะเจ็บไข้ไม่สบายลาป่วยน่ะ คงไม่มีหัวหน้าใจร้ายเคี่ยวเข็ญให้ลากสังขารมาทำงานให้ได้ (เอ๊ะ…หรือจะมี) แต่ถ้าลูกน้องเกเรที่เป็นเหล่ามือวางอันดับต้น ๆ ประเภทนักป่วยมืออาชีพทั้งหลาย หัวหน้าจำเป็นต้องรู้ทัน และหาทางพิสูจน์ว่า "ป่วยจริง" หรือเปล่า 6.

คอน โด ติด เซ็นทรัล พัทยา
Thursday, 25-Nov-21 05:06:33 UTC