ใช้พยัญชนะต้น ตัวสะกด ตัวตาม ผิด ทุกคนคงเคยเห็นเพื่อน ๆ บางคนอ่านคำที่มีพยัญชนะ ตัว "ร" และตัว "ล" เช่น คำว่า "ราดหน้า" อ่านหรือพูดว่า "ลาดหน้า" กันมาแล้วใช่ไหมค่ะ ซึ่งจะทำให้สื่อความหมายผิดได้ ตัวอย่าง รุกราน มักเขียนผิดเป็น ลุกลา น ร่วงหล่น มักเขียนผิดเป็น ล่วงหล่น จราจร มักเขียนผิดเป็น จลาจร ครองแครง มักเขียนผิดเป็น คลองแคลง เกร็ดความรู้ มักเขียนผิดเป็น เกล็ดความรู้ ราดหน้า มักเขียนผิดเป็น ลาดหน้า ร่ำลือ มักเขียนผิดเป็น ล่ำลือ เลิกรา มักเขียนผิดเป็น เลิกลา 5. ใช้พยัญชนะเกินหรือขาด คำที่ใช้พยัญชนะเกิน บุคลากร มักเขียนผิดเป็น บุ คค ลากร (ใช้พยัญชนะเกิน) สัตบุรุษ มักเขียนผิดเป็น สั ตต บุรุษ (ใช้พยัญชนะเกิน หิริโอตตัปปะ มักเขียนผิดเป็น หิริ โอตั ปปะ (ใช้พยัญชนะขาด) กิตติมศักดิ์ มักเขียนผิดเป็น กิติ มศักดิ์ (ใช้พยัญชนะขาด) 6. ใช้ตัวการันต์ผิด คำบางคำไม่ต้องมีตัวการันต์ ข้อควรจำก็คืออย่าจำคำที่คล้ายกันมาเขียนเป็นคำใหม่ที่ไม่ต้องมีตัวการันต์ ซึ่งทุกคนต้องจำให้ได้ ตัวอย่าง โล่ ลูกจัน โจษจัน นกอินทรี สิงโต ดำรง ไข่มุก เท่ ลายเซ็น สีสัน แพทยศาสตร์ สมโภช ฉันมิตร จัดสรร แผนการ สำอาง ผูกพัน โครงการ 7.

20 คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยมักออกเสียงผิด | Wordy Guru

ใช้คำควบกล้ำผิด คำบางคำที่มี "ร" เป็นคำควบกล้ำ แต่มักเขียนผิดเป็นไม่ใส่ "ร" หรือคำบางคำไม่มี "ร" เป็นคำควบกล้ำ แต่เผลอเขียนผิดเป็นใส่ "ร" ลงไป ตัวอย่าง คำที่มี "ร" เป็นคำควบกล้ำ รถกระบะ กระทะ กระท้อน กระดังงา กระทิง กระเพาะ กระจ้อยร่อย กระจิริด กระเจี๊ยบ กระชัง กระชาย กระดี่ กระตือรือร้น กระถิน กระทิง กระพุ้ง กระพรวน กระโปรง กระบาล กระวีกระวาด กระเบียดกระเสียร คำที่ไม่มี "ร" เป็นคำควบกล้ำ กะทิ กะเพรา กะทัดรัด กะหล่ำ กะลาสีเรือ ปลากะพง กะแช่ กะเทาะ กะปริบกะปรอย กะปิ กะเล่อกะล่า กะหรี่ปั๊บ กะละปังหา กะล่อน กะปูด กะละมัง กะละแม กะลาสี 8. ใช้ประวิสรรชนีย์ผิด ตัวอย่าง คำที่ไม่ต้องใช้ประวิสรรชนีย์ กากบาท ชโลม ขมุกขมัว กาลเทศะ สกัด ฉบับ ศิลปวัฒนธรรม สาธารณประโยชน์ ยโสธร สัมมนา นฤมิต นิจศีล ไมยราบ ขยุ้ม ขย่อน ชโลม กากบาท สบาย สแลง พังทลาย ทยอย ทแยง ทวาย คำที่ต้องใช้ประวิสรรชนีย์ อะไหล่ ประดิดประดอย ประณาม ประณีต ประกัน ทระนง ทะนง ทะลาย คะนึง ปล้นสะดม สะเอว กระจก ฉะนี้ ฉะนั้น ทะลึ่ง คะนึง ขะมุกขะมอม ขะมักเขม้น พะแนง สะดวก ทะนุบำรุง ชะมด กระเท่เร่ กะละมัง คะนอง 9. ใช้คำขึ้นต้นผิด คำที่ใช้ "บรร" และ "บัน" นำหน้าคำ แล้วทำให้หลายคนสับสนว่าเขียนคำไหน มาดูตัวอย่างกันค่ะ ตัวอย่าง คำที่ใช้ "บรร" บรรลัย บรรยาย บรรเลง บรรเทา บรรษัท บรรทัดฐาน บรรยากาศ บรรทม บรรจุ บรรจบ บรรทุก บรรทัดฐาน บรรหาร บรรดา บรรณาธิการ บรรจวบ บรรเจิด บรรจถรณ์ บรรจง บรรกวด บรรณานุกรม บรรณาการ บรรณาคม บรรณาธิกร บรรณารักษ์ บรรดาศักดิ์ บรรทัด บรรเทือง บรรพชา บรรพบุรุษ บรรพชิต บรรพต คำที่ใช้ "บัน" บันทึก บันได บันเทิง บันลือ บันดาล บันดล บันจวบ บันยะบันยัง บันเหิน บันทึง 10.

Juice ( น้ำผลไม้) อ่านว่า จูซ มักจะอ่านผิดเป็น จุ๊ยส์ 11. Debt ( หนี้) อ่านว่า เด็ท มักจะอ่านผิดเป็น เด็บ 12. Schedule ( ตารางเวลา) อ่านว่า สเก็ต - โจล หรือแบบอเมริกันว่า เช็ด - โจล มักจะอ่านผิดเป็น สเก็ต - ช่วล 13. Often ( บ่อย) อ่านว่า ออฟ - เฟิน มักจะอ่านผิดเป็น ออฟ - เท็น 14. Syrup ( น้ำเชื่อม) อ่านว่า ซี - รัป มักจะอ่านผิดเป็น ไซ - รัป 15. Error ( ข้อผิดพลาด) อ่านว่า แอ - เร่อ มักจะอ่านผิดเป็น เออ - เร่อ 16. Eyebrow ( คิ้ว) อ่านว่า อาย - บราว มักจะอ่านผิดเป็น อาย - โบรว 17. Pivot ( หมุน) อ่านว่า พิ - วิท มักจะอ่านผิดเป็น ไพ - วอท 18. Island ( ชื่อประเทศ) อ่านว่า ไอ - แลน ( ด) มักจะอ่านผิดเป็น ไอซ - แลนด์ 19. Aisle ( ทางเดิน) อ่านว่า ไอล มักจะอ่านผิดเป็น ไอ - เซิล 20. Subtle ( เล็กน้อย) อ่านว่า ซัด - เดิ้ล มักจะอ่านผิดเป็น สับ - เทิ้ล มีหลายคำเลยใช่ไหมละที่ทุกคนเคยออกเสียงมาจนคุ้นชินคิดว่าถูกต้อง เมื่อรู้อย่างนี้แล้วต่อไปเราก็ค่อย ๆ ปรับไปพร้อมกันและพยายามออกเสียงให้ถูกต้อง หากไปคุยกับเจ้าของภาษาจะได้ไม่เกิดความผิดพลาดทางการสื่อสารกันนะครับ

Aluminium อะลูมิเนียม อะลูมิเนี่ยม 2. Animation แอนิเมชัน อนิเมชั่น 3. Application แอปพลิเคชัน แอพพลิเคชั่น 4. Blog บล็อก บล็อค 5. Browser เบราว์เซอร์ บราวเซอร์ 6. Click คลิก คลิ๊ก 7. Comment คอมเมนต์ คอมเมนท์ 8. Copy ก๊อบปี้ ก็อปปี้ 9. Digital ดิจิทัล ดิจิตอล 10. E-mail อีเมล อีเมล์ 11. Facebook เฟซบุ๊ก เฟสบุ๊ค 12. Function ฟังก์ชัน ฟังก์ชั่น 13. Gang แก๊ง แก๊งค์ 14. Graphic กราฟิก กราฟฟิค 15. Internet อินเทอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต 16. Lab แล็บ แล็ป 17. Like ไลก์ ไลค์ 18. Link ลิงก์ ลิงค์ 19. Log ล็อก ล็อค 20. Mark up มาร์กอัป มาร์คอัพ 21. Package แพ็กเกจ แพ็คเกท 22. Packet แพ็กเก็ต 23. Post โพสต์ โพสท์ 24. Project โปรเจกต์ โปรเจค 25. Quota โควตา โควต้า 26. Series ซีรีส์ ซีรี่ย์ 27. Server เซิร์ฟเวอร์ เซิร์พเวอร์ 28. Size ไซซ์ ไซส์ 29. Smart สมาร์ต สมาร์ท 30. Spaghetti สปาเกตตี สปาเก็ตตี้ 31. Steak สเต๊ก สเต็ก 32. Strawberry สตรอว์เบอร์รี สตอเบอรี่ 33. Tag แท็ก แท็ค 34. Update อัปเดต อัพเดท 35. Version เวอร์ชัน เวอร์ชั่น 36. Website เว็บไซต์ เว็ปไซต์ หลาย ๆ คำอาจจะขัดความรู้สึก เนื่องจากเราพบเห็นบ่อย ๆ มาจากหลาย ๆ ที่ แต่ถ้าเทียบตามหลักการทับศัพท์แล้วอาจจะได้คำทับศัพท์ที่ดูแปลกตาไปบ้าง ค่อยปรับการใช้งานกันไปนะครับ หวังว่าในอนาคตเราจะใช้คำทับศัพท์ไปในแนวทางเดียวกันได้อย่างถูกต้อง อ้างอิงเอกสารการทับศัพท์ หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ คำทับศัพท์

Voathai.com

ในการพูดอังกฤษนั้น คนไทยเรามีความยืดหยุ่นให้กับตัวเองสูงมาก เช่นว่า ถ้าพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ เราก็จะปลอบใจตัวเอง ให้กำลังใจตัวเองว่า "พูดได้ดีแล้ว", "ฝรั่งก็น่าจะเข้าใจ" "ไม่ได้เกิดเมืองนอก ไม่ใช่ภาษาบ้านเรา พูดผิดก็ไม่เป็นไรน่า" … ใช่ค่ะ ให้กำลังใจตัวเองไม่ผิด แต่ถ้าพูดหรือออกเสียงให้ถูก ก็จะเพิ่มความดูดีให้เราได้อีกนิด … ไปค่ะไป ออกเสียงภาษาอังกฤษให้ดีอีกนิด กับตัวอย่างที่เรานำมาฝากนี้ 1. Vegetable ผัก คำนี้อ่านว่า "เวจ-ทะ-เบิล" / ไม่ใช่ "เว-เจท-เท-เบิล" 2. Suite (ห้องหักในโรงแรม) Suite ออกเสียงว่า ซุว – อีท เนื่องจากมีเสียง u ตรงกลางด้วย เลยมักมีคนเสียงเป็น สวีท ซึ่งซ้ำกับ sweet นะ / ไม่ใช่ "ขอห้องสวีท" นะครับ 3. Winter ฤดูหนาว ให้พูดว่า "วิน'-เทอะ" / ไม่ใช่ "วินเตอร์" 4. Yoga Yoga หรือคุ้นหูกันที่ว่า "โยคะ" แต่ถ้าอ่านว่า "โย-เกอะ" จะดีกว่า / แต่หลังๆ เราชินคำว่า "โยคะ" มากกว่าจริงๆ นะ 5. Error ความผิดพลาด Error ควรอ่านว่า " แอ-เร่อะ " / ไม่ใช่ "เออ-เร่อ" 6. Sword ดาบ Sword อ่านว่า " ซอร์ด " / ไม่ใช่ "สะ-หวอด" … เด้อค่ะเด้อ 7. Receipt ใบเสร็จ receipt คำนี้จะต้องอ่านออกเสียงว่า " รี-ซีท " / ไม่ใช่ "รี-ซิป" 8.

  1. วิธี อัพเดท android 7. 0 samsung j2 manual
  2. ชาวโซเชียลถล่มยับ!! "เปิดประเทศ" แห่ติดแฮชแท็กถาม #ประยุทธ์ พุ่งเทรนด์ทวิตกว่า 1 ล้าน - Finzaaa - เว็บไซต์ข่าวสารสุดซ่า พื้นที่แห่งข่าวสาร สาระ รวดเร็ว ทันเหตุการณ์
  3. คำไทยที่มักอ่านผิด | Wordy Guru

เทียบกับคำที่คล้ายคลึงกัน คำว่า นิมิต มักเขียนผิดเป็น นิมิตร เนื่องจาก เทียบกับคำว่า มิตร คำว่า สังเกต มักเขียนผิดเป็น สังเกต เนื่องจาก เทียบกับคำว่า ดาวเกตุ คำว่า อนุญาต มักเขียนผิดเป็น อนุญาติ เนื่องจาก เทียบกับคำว่า ญาติ คำว่า โอกาส มักเขียนผิดเป็น โอกาศ เนื่องจาก เทียบกับคำว่า อากาศ คำว่า บิณฑบาต มักเขียนผิดเป็น บิณฑบาตร เนื่องจาก เทียบกับคำว่า บาตร 2. ออกเสียงผิด คำว่า ประนีประนอม ออกเสียงผิดเป็น ประนีประนอม คำว่า ปลากริม ออกเสียงผิดเป็น ปลากิม คำว่า วาทยกร ออกเสียงผิดเป็น วาทยกร คำว่า กรวดน้ำ ออกเสียงผิดเป็น ต รวดน้ำ คำว่า จลาจล ออกเสียงผิดเป็น จลาจล คำว่า หยากไย่ ออกเสียงผิดเป็น หยักไย่ คำว่า อะไหล่ ออกเสียงผิดเป็น อะไหล่ คำว่า ซาลาเปา ออกเสียงผิดเป็น ซาลาเปา คำว่า กะละปังห า ออกเสียงผิดเป็น กาละปังหา 3.

"50 คำภาษาไทย" ที่มักเขียนผิดบ่อย ๆ | TrueID In-Trend

Debt หนี้สิน debt อ่านว่า "เด็ท" / ไม่ควรอ่าน "เด็บ" 9. Juice น้ำผลไม้ Juice อ่านว่า " จูซ " / อย่าอ่าน "จุ๊ยส์" นะคะ 11. Science วิทยาศาสตร์ Science อ่านว่า "ไซ-เยินซ" / ไม่ใช่ "ซาย" 11. Slave ทาส Slave ที่แปลว่า ทาส การออกเสียงที่ถูกต้องคืออ่านว่า "สเลฟ" / ไม่ใช่ สลาฟ 12. Elephant ช้าง Elephant ออกเสียงว่า "เอ-ลิ-เฝิ่นท" / ไม่ใช่ "อิ-เลฟ-เฟ่น" 13. Value ความคุ้มค่า ออกเสียงว่า แวล – ลยู่ (ม้วนลิ้น L เช่นกัน) / สังเกตว่า มันไม่ใช่ โวลยุ่ม – แวลยู่ – แว-ลู่ 14. Volume เสียง Volume อ่านว่า "โวล-ลยุ่ม" / ไม่ใช่ "วอ-ลุ่ม" 15. Tropical fruit ผลไม้เมืองร้อน Tropical fruit พูดเป็น ทรอพ-พิ-เคิล ฟรุท หัวหอม Onion ออกเสียงว่า "อัน-เยิน" / ม่ใช่ "ออน-เนี่ยน" 17. Iron เตารีด Iron อ่านว่า "ไอ-เยิร์น" / ไม่ใช่ "ไอ-รอน" 18. Salmon Salmon หรือเมนูปลา ที่ต้องออกเสียงว่า "แซ-เมิน" / ไม่ใช่ "แซล-มอน" 19. Dove Dove คำนี้ที่แปลว่า นกเขาสีขาว ออกเสียงว่า "เดิฟ" ไม่ใช่ "โดฟ" (คำว่า โดฟ นี้ จะเป็นรูปอดีตของ dive ที่มาจากคำว่า "ดำน้ำ หรือ กระโดดน้ำ" ซึ่งจะความหมายต่างกัน 20. Comfortable สบาย Comfortable ออกเสียง คัมเฟิร์ท [ทะ] เบิล เสียง [ทะ] สั้นจนแทบไม่ได้ยิน / ไม่ใช่ "คอม-ฟอร์ท-เท-เบิ้ล" 21.

นครราชสีมา) อ่านว่า จัก-กะ-หราด ฉวาง อ่านว่า ฉะ-หวาง แม่สรวย อ่านว่า แม่-สวย แม่จริม อ่านว่า แม่-จะ-ริม เสลภูมิ อ่านว่า เส-ละ-พูม (ถนน) แพร่งสรรพศาสตร์ อ่านว่า แพร่ง-สัน-พะ-สาด การอ่านตัวเลขภาษาไทยที่มักอ่านผิด ที่ควรอ่านให้ถูก 11 อ่านว่า สิบเอ็ด 21 อ่านว่า ยี่-สิบ-เอ็ด 101 อ่านว่า ร้อย-เอ็ด 1001 อ่านว่า พัน-เอ็ด 2501 อ่านว่า สอง-พัน-ห้า-ร้อย-เอ็ด นี่เป็นเพียงตัวอย่างส่วนหนึ่งที่นำมาให้ดูกัน ยังมีอีกหลายคำที่คนไทยอ่านผิดกันทั้งที่เป็นคำในภาษาไทยเอง ต่อไปนี้เมื่อเจอคำเหล่านี้หวังว่าผู้อ่านทุกคนจะไม่อ่านผิดกันอีกแล้วนะครับ

ภาคตะวันออก

Asia asia อ่านว่า เอ-เฉอะ หรือ เอ-ฉะ ก็ได้ / "south east asia" หรือทวีปเอเชียอาคเนย์ ก็ต้องออกเสียงเป็น "เซาท์-อีส-เอ-ฉะ" 22. Deluxe หรูหรา deluxe อ่านว่า เดอ ลุกซ หรือ เดอ ลักซ หรือ ดี-ลักซ์ ก็ได้ค่ะ ที่มา, บทความแนะนำ 27 เทคนิค การออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะเว่อร์ จนฝรั่งต้องยกนิ้วให้ 11 ดาราเกาหลี พูดภาษาอังกฤษเก่ง พูดได้ดีเยี่ยม คำศัพท์ที่เกี่ยวสภาพอากาศ ฤดูกาลต่างๆ ในภาษาอังกฤษ Seasons and Weather เรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับ 'บ้าน' คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับ สวน (The garden) อ่านบทความภาษาอังกฤษได้ที่ ฟังคลิปเสียง การออกเสียงภาษาอังกฤษ สำเนียงฝรั่ง

Thursday, 25-Nov-21 08:05:02 UTC